top of page

สรุปองค์ความรู้ภาษาไทย

ภาษาไทย หรือ ภาษาไทยกลาง เป็นภาษาราชการและภาษาประจำชาติของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไทซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาขร้า-ไท สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต

ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ

ภาษาไทยปรากฏครั้งแรกในพุทธศักราช 1826 โดยพ่อขุนรามคำแหง และปรากฏอย่างสากลและใช้ในงานของราชการ เมื่อวันที่ 31 มีนาคม พุทธศักราช 2476 ด้วยการก่อตั้งสำนักงานราชบัณฑิตยสภาขึ้น และปฏิรูปภาษาไทย พุทธศักราช 2485


เนื้อหา
1    ชื่อภาษาและที่มา
2    ประวัติ
2.1    ภาษาไทยเก่า
2.2    การเปลี่ยนแปลงระบบเสียงที่สำคัญ
2.3    เสียงวรรณยุกต์ในสมัยอยุธยา
2.4    สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม
2.5    ความเชื่อมโยงกับภาษาเย่ว์โบราณ
3    สัทวิทยา
3.1    พยัญชนะ
3.1.1    พยัญชนะต้น
3.1.2    พยัญชนะสะกด
3.1.3    กลุ่มพยัญชนะ
3.2    สระ
3.3    วรรณยุกต์
3.3.1    เสียงวรรณยุกต์
3.3.1.1    คำเป็น
3.3.1.2    คำตาย
3.3.2    รูปวรรณยุกต์
3.3.3    การเขียนเสียงวรรณยุกต์
3.4    คำควบกล้ำ
4    ไวยากรณ์
4.1    วากยสัมพันธ์
5    การยืมคำจากภาษาอื่น
5.1    ภาษาอังกฤษ
6    ดูเพิ่ม
7    อ้างอิง
8    แหล่งข้อมูลอื่น

 

Matawee Tetnoi 

 No 20 2/6

     Mtt

bottom of page